กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

ออมภาคสมัครใจและภาคบังคับ กับ “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ”

ในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้าประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ “สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์” (Completely Aged society) โดยเป็นสังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินกว่า 20% ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรตั้งแต่อายุ 65 ปี มากกว่า 14% ในปี 2566 และในอีก 10 ปีข้างหน้าจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super-aged society) คือมีประชากรตั้งแต่อายุ 65 ปี มากกว่า 20% ทำให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนเร่งเตรียมความพร้อมในการพึ่งพาตนเองให้แก่ผู้สูงอายุและวัยทำงานที่จะกลายเป็นผู้สูงอายุในอนาคต รวมถึงความพร้อมทางด้านการเงินของผู้เกษียณอายุ

ก.ล.ต.ปรับปรุงระบบรับจดทะเบียน “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ” ใช้เทคโนโลยีลดขั้นตอน

HoonSmart.com>> ก.ล.ต. ปรับปรุงระบบการรับจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลาการรับจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อำนวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพและบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) สอดคล้องกับนโยบายด้านการยกระดับการบริการและกระบวนการทำงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (SEC Digital Services) ตามแผนยุทธศาสตร์ด้านองค์กรนวัตกรรมของ ก.ล.ต.

การจัดการเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเมื่อเกษียณอายุ

ย่างเข้าสู่เดือนกันยายนและต่อเนื่องไปยังไตรมาสสุดท้ายของปีนับเป็นช่วงเวลาเปลี่ยนผ่านสำคัญของเพื่อนสมาชิกที่กำลังจะเข้าสู่ชีวิตเกษียณอายุ ซึ่งเป็นอีกช่วงหนึ่งของชีวิตที่มีความท้าทายไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าชีวิตในช่วงก่อนหน้า โดยสิ่งหนึ่งที่สำคัญที่เพื่อนสมาชิกควรเตรียมการก่อนวันเกษียณ คือ การบริหารจัดการเงินไว้ใช้จ่ายหลังเกษียณ นั่นเอง

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “ผู้รับผลประโยชน์” ของเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

ยังจำกันได้ไหมว่าตอนที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเมื่อเริ่มเข้าทำงานหรือเมื่อทำงานไประยะหนึ่งแล้วก็ตาม เพื่อนสมาชิกได้กรอกเอกสารอะไรบ้าง นอกจากใบสมัครและแบบประเมินความเหมาะสมในการลงทุน (suitability test) เพื่อประเมินความสามารถในการรับความเสี่ยงจากการลงทุน เชื่อว่าเพื่อนสมาชิกคงจำกันได้ว่ายังมีเอกสารที่สำคัญอื่นอีกหนึ่งฉบับที่พวกเราได้กรอกข้อมูลไว้นั้นคือ “หนังสือแจ้งรายชื่อบุคคลผู้รับผลประโยชน์”

ประหยัดภาษีด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

เข้าสู่ปีเสือ 2565 ได้เกือบสามเดือนแล้ว เพื่อนสมาชิกบางท่านอาจยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับปี 2564 เรียบร้อยแล้ว และวางแผนที่จะมีเงินออมมากขึ้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเงินที่ต้องการ วันนี้มีคำแนะนำดี ๆ สำหรับเพื่อนสมาชิกที่ต้องการออมเงินและลงทุนเพื่อการเกษียณอายุผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (provident fund: PVD) และต้องการประหยัดภาษีที่ต้องจ่ายในแต่ละปีไปพร้อมกัน

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ : หนึ่งในกลไกสำคัญสร้างความมั่นคงระบบบำนาญไทย

เมื่อไม่นานมานี้มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยของไทยและต่างประเทศเกี่ยวกับการเกษียณอายุ ซึ่งผู้เขียนเห็นว่าน่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อบริบทของไทยที่เข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ กล่าวคือ สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด จึงขอถือโอกาสนำมาเล่าสู่กันฟัง

ก.ล.ต.เล็งปรับปรุงพ.ร.บ.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ รองรับเปลี่ยนผ่านสู่ออมภาคบังคับ

HoonSmart.com>> ก.ล.ต.เปิดรับฟังความคิดเห็นประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายกองทุนสำรองเลี้ยงชีพในปัจจุบัน พร้อมเสนอแนวทางการปรับปรุง พ.ร.บ.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ รองรับร่าง พ.ร.บ. กองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ เปลี่ยนผ่านจากการออมภาคสมัครใจไปเป็นการออมภาคบังคับ

ธปท.ตั้ง BAY เป็นผู้รับฝากทรัพย์สินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน

HoonSmart.com>>ธปท.ตั้ง ธนาคารกรุงศรีเป็นผู้รับฝากทรัพย์สินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย นาน 3 ปี ตั้งแต่ 1 ต.ค. 64

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 9 เดือนโต 5.89% ไพรเวทฟันด์พุ่ง 1.4 แสนลบ.

HoonSmart.com>> ก.ล.ต.เผยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 9 เดือนปี 64 มูลค่าทรัพย์สินแตะ 1.32 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 7.35 หมื่นลานบาท โตกว่า 5.89% ส่วนกองทุนส่วนบุคคลเพิ่มขึ้น 1.39 แสนล้านบาท กว่า 6.78% จากสิ้นปีก่อน ด้านกองทุนรวมเพิ่ม 1.07 แสนล้านบาท หรือ 2.43%

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพกับการปรับตัวในช่วง COVID-19

ปี 2564 ได้ล่วงผ่านมากว่าครึ่งปีแล้ว เพื่อนสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund: PVD)หลายท่านอาจเริ่มหันกลับมาทบทวนการออมเงินและการลงทุนของตัวเองว่าเป็นไปตามแผนที่วางไว้และเข้าใกล้เป้าหมายการเก็บออมเพื่อการเกษียณอายุมากน้อยแค่ไหน

1 2 3 4 5