Get Wealth Soon

“เงินที่รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คำนวณภาษีอย่างไร”

“กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ” เป็นสวัสดิการที่นายจ้างมีให้แก่ลูกจ้างเพื่อเพิ่มเงินออมและเงินลงทุนในช่วงที่ยังทำงานอยู่ร่วมกัน โดยมุ่งหวังให้ลูกจ้างมีเงินเก็บไว้ใช้ในยามเกษียณ ซึ่งเงินส่วนนี้นับเป็นรายได้ที่ลูกจ้างจะได้รับมากขึ้น

กระชับสัดส่วนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเมื่อใกล้เกษียณ

ดังสำนวนภาษาอังกฤษที่กล่าวไว้ว่า Rome was not built in a day แปลตรงตัวได้ว่า กรุงโรมไม่ได้สร้างเสร็จภายในวันเดียว เฉกเช่นเงินในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพก็ไม่ได้สะสมภายในวันเดียวเช่นกัน การจะสะสมเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้เติบโตนั้นต้องใช้ระยะเวลาหลายปี ดังนั้น ยิ่งช่วงใกล้เกษียณ เงินที่พยายามสะสมมาตลอดเส้นทางการทำงานนั้น จะต้องอยู่รอดปลอดภัยไม่หายไปก่อนเกษียณ

เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพทั้งชีวิต … อย่าปล่อยให้มิจฉาชีพมาหลอกไป

ในยุคปัจจุบันที่สื่อออนไลน์เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันมากขึ้น ไม่เพียงเฉพาะประโยชน์ที่ได้รับจากข้อมูลข่าวสารผ่านการนำเสนอที่มีความน่าสนใจและรวดเร็วมากขึ้นเท่านั้น ภัยคุมคามจากมิจฉาชีพก็ฉวยประโยชน์จากสื่อออนไลน์แฝงตัวเข้ามาหลอกให้ลงทุนด้วยกลโกงสารพัดรูปแบบเช่นกัน และฉกเอาทรัพย์สินเงินทองที่เราสั่งสมมาตลอดชีวิตหายวับไปทันที

“บทบาทบริษัทจัดการ” สะท้อน ทุกบท ทุกบาท “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ”

จากบทความที่แล้วที่พูดถึงการคัดเลือกบริษัทจัดการที่จะมาเป็นมือขวาของคุณ เมื่อคุณเริ่มคิดมีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ* ว่านอกจากจะต้องมีใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนส่วนบุคคลที่ออกโดยสำนักงาน ก.ล.ต. แล้ว จะต้องพิจารณาแง่มุมไหนอีกบ้าง และในบทความนี้จะมายกตัวอย่างให้เห็นภาพมากขึ้นว่า บริษัทจัดการทุกรายนอกเหนือจากการบริหารจัดการเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามนโยบายการลงทุนที่สมาชิกเลือกไว้แล้วยังมีบทบาทอื่นอย่างไรอีก

มือขวาของคุณคือใคร เมื่อเริ่มคิดมี “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ”

เมื่อนายจ้างและลูกจ้างตกลงที่จะจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้เป็นสวัสดิการทรงพลังให้แก่ลูกจ้าง เพื่อเป็นแหล่งเงินก้อนสำหรับการใช้จ่ายยามเกษียณ นายจ้างอาจเริ่มค้นหาว่ามือขวาหรือบริษัทจัดการที่จะมาช่วยจัดตั้งและบริหารจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้สำเร็จอย่างราบรื่นควรเป็นใคร

Q&A กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เมื่อมีคำถามมาก็มีคำตอบไป

สำนักงาน ก.ล.ต. ได้จัดงานสัมมนาออนไลน์ “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นายจ้างให้ นายจ้างได้ ลูกจ้างมั่นคง”

นายจ้างสนับสนุนเต็มที่ เมื่อมีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

เมื่อนายจ้างใจดีได้ตัดสินใจจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้ลูกจ้าง หลังจากที่เห็นประโยชน์ที่จะได้รับทั้งต่อตัวนายจ้างและลูกจ้าง และสำรวจความพร้อมสำหรับขั้นตอนต่าง ๆ ในการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแล้ว[1] นายจ้างอาจต้องการรู้ว่า หลังจากที่ตัดสินใจจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแล้ว จะต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบใดบ้าง

ทริสหั่นเรทติ้ง STARK เหลือ BB- โละบอร์ดส่อปัญหาร้ายแรง งบมีข้อสงสัย

HoonSmart.com>>ทริสฯลดเครดิตองค์กร “สตาร์ค คอร์ปอเรชั่น” จาก “BBB+” เป็น “BB-” ความน่าเชื่อถือต่ำ การโล๊ะบอร์ดทั้งชุด บ่งชี้ถึงความรุนแรงของปัญหาในการบริหารภายใน  บริษัทยังไม่สามารถชี้แจงถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน  ส่วนการขอเลื่อนส่งงบการเงินปี 65 ออกไปครั้งที่ 3  ทำให้เกิดข้อสงสัยที่มากมายยิ่งขึ้น เกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของงบการเงินในอดีต  และการไม่ส่งงบตามเวลาที่กำหนด ถือว่าเป็นเหตุผิดนัดตามข้อกำหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ รอมติ 28 เม.ย. หากไม่ยกเว้นเหตุผิดนัด ต้องชำระคืนทั้งหมดในทันที  อาจปรับลดเรทติ้งลงสู่ระดับ “C” หรือ “D”  

ออมภาคสมัครใจและภาคบังคับ กับ “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ”

ในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้าประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ “สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์” (Completely Aged society) โดยเป็นสังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินกว่า 20% ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรตั้งแต่อายุ 65 ปี มากกว่า 14% ในปี 2566 และในอีก 10 ปีข้างหน้าจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super-aged society) คือมีประชากรตั้งแต่อายุ 65 ปี มากกว่า 20% ทำให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนเร่งเตรียมความพร้อมในการพึ่งพาตนเองให้แก่ผู้สูงอายุและวัยทำงานที่จะกลายเป็นผู้สูงอายุในอนาคต รวมถึงความพร้อมทางด้านการเงินของผู้เกษียณอายุ

การจัดการเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเมื่อเกษียณอายุ

ย่างเข้าสู่เดือนกันยายนและต่อเนื่องไปยังไตรมาสสุดท้ายของปีนับเป็นช่วงเวลาเปลี่ยนผ่านสำคัญของเพื่อนสมาชิกที่กำลังจะเข้าสู่ชีวิตเกษียณอายุ ซึ่งเป็นอีกช่วงหนึ่งของชีวิตที่มีความท้าทายไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าชีวิตในช่วงก่อนหน้า โดยสิ่งหนึ่งที่สำคัญที่เพื่อนสมาชิกควรเตรียมการก่อนวันเกษียณ คือ การบริหารจัดการเงินไว้ใช้จ่ายหลังเกษียณ นั่นเอง

1 2 3 9