SCBAM : แนวโน้มดอลลาร์อ่อนค่า โอกาสกลับมาในตลาดเกิดใหม่

MARKET INSIGHT
ประจำวันที่ 17-21 ก.ค. 66

Highlight ประจำสัปดาห์
๐ ตลาดหุ้นสหรัฐฯ ปรับตัวขึ้นโดดเด่น เป็นที่น่าสังเกตว่า การปรับตัวขึ้นมีการกระจายกลุ่มอุตสาหกรรมมากขึ้นซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีต่อการฟื้นตัวของตลาด ปัจจัยหนุนสำคัญ ได้แก่ อัตราเงินเฟ้อสหรัฐฯ ที่ต่ำกว่าคาดตอกย้ำความคาดหวังว่าใกล้สิ้นสุดวัฏจักรดอกเบี้ยขาขึ้นแล้ว ขณะที่ดัชนีตลาดแรงงานยังบ่งชี้ถึงความดึงตัวช่วยลดความกังวลเศรษฐกิจถดถอย ส่วนตลาดหุ้นยุโรปปรับตัวขึ้นได้ดีตามฝั่งสหรัฐฯ สอดคล้องกับตลาดหุ้นเอเชียที่ปรับตัวขึ้นเป็นส่วนใหญ่ โดย Dollar Index ที่อ่อนค่าลงต่อเนื่องหนุนกระแสเงินทุนต่างชาติไหลเข้ามากขึ้น ขณะที่ธนาคารกลางจีนขยายระยะเวลาปล่อยกู้ให้บริษัทภาคอสังหาริมทรัพย์ช่วยสร้างแรงหนุนต่อตลวดหุ้นเช่นกัน

๐ ดัชนีเงินเฟ้อผู้บริโภคทั่วไปสหรัฐฯ (CPI) เดือน มิ.ย. ออกมาต่ำกว่าคาด ทั้งเทียบรายเดือน (0.2% vs 0.3% MOM) และรายปี (3.0% Vร 3.1%YoY) ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core CP) ต่ำกว่าคาดทั้งเทียบรายเดือน (0.2% vร 0.3%MoM) และเทียบรายปี (4.8% vS 5.0%YoY) เช่นกันจากราคนอาหาร, ราคารถมือสองและราคาตั๋วเครื่องบินที่ชะลอลงแม้ราคาที่อยู่อาศัยจะยังเพิ่มขึ้นก็ตาม

๐ ผลประกอบการกลุ่มธนาคารพาณิชย์สหรัฐฯ โดยรวมมีกำไรดีกว่าคาด แต่ราคาหุ้นในกลุ่มปรับตัวลงสะท้อนความกังวลการกันสำรองเงินไว้มากขึ้นเผื่อหนี้เสียจากสินเชื่อภาคอสังหาริมทรัพย์เพื่อการพาณิชย์ ทั้งนี้ติดตามบริษัทที่มีกำหนดรายงานงบในสัปดาห์นี้ได้แก่ Tesla, Netflix, IBM, Morgan Stanley, Bank of America, Goldman Sachs, Johnson & Johnson, United Airlines

หุ้นกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว

สหรัฐอเมริกา : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
รายงานดัชนีเศรษฐกิจสหรัฐฯ ออกมาสะท้อนภาพเงินเฟ้อที่ซะลอลงต่อเนื่อง รวมทั้งตลาดแรงงานที่ยังคงตึงตัวช่วยลดษฐกิจถดถอย เป็นปัจจัยหนุนตลาดหุ้นสหรัฐฯ ทั้งนี้ dollar index ที่อ่อนค่าลงแรง เป็นปัจจัยเสี่ยงที่เงินทุนไหลออกจากตลาดหุ้นสหรัฐฯ ไปยังตลาดหุ้นอื่นที่ยัง Laggard โดยเฉพาะฝั่งเอเชีย จึงแนะนำคงน้ำหนักการลงทุน

ยุโรป : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
Bloomberg consensus คาด GDP ยุโรปจะกลับมาฟื้นตัว Q0Q ใน 2066 จากตลาดแรงงานที่แข็งแกร่งและเงินเฟ้อผ่านจุดสูงสุด ดังนั้นระยะสั้นคาดตลาดหุ้นยุโรปมีไอกาสปรับตัวขึ้น จากเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มฟื้นตัว รวมทั้งรับข่าวดีจากจีนที่ออกมาตรการช่วยเหลือภาคอสังหาฯ เพิ่มเติม ซึ่งยุโรปจะได้ประโยชน์ หากการบริโภคและเศรษฐกิจจีนฟื้นตัว

ญี่ปุ่น : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
รายงานด้ชนีราคาผู้ผลิต (PP1) เดือน มิ.ย. เพิ่มขึ้น 4.1 % YOY ต่ำกว่าที่ตลาดคาดและชะลอลงจากเดือนก่อนหน้า สะท้อนเงินเฟ้อญี่ปุ่นมีโอกาสชะลอตัวลง ช่วยลดแรงกดดันต่อ B0J ทำให้ไม่จำเป็นต้องรีบเร่งตึงตัวนโยบายการเงิน ทั้งนี้ เงินเยนที่มีแนวโน้มแข็งคำขึ้น อาจทำให้มีแรงขายทำกำไร เป็นปัจจัยกดดันตลาดหุ้นญี่ปุ่น

หุ้นกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่

ไทย : มุมมองค่อนข้างเป็นบวก แนะนําทยอยสะสม
ผลการโหวตนายกฯ รอบแรก และแถลงการณ์ของพรรคก้าวไกลช่วงสุดสัปดาห์ เพิ่มความน่าจะเป็นที่พรรคเพื่อไทยจะขึ้นมาเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล ทำให้นักลงทุนมีความคาดหวังมากขึ้นต่อนโยบายด้านเศรษฐกิจ ประกอบกับ การแข็งค่าของเงินบาท น่าจะช่วยชะลอแรงขายของต่างชาติ เราคาดว่า SET Index จะฟื้นตัวต่อในสัปดาห์นี้

จีน : มุมมองค่อนข้างเป็นบวก แนะนําทยอยสะสม
ตลาดหุ้นจีนฟื้นตัวขึ้นโดดเด่นหลังปรับตัวลงแรงตลอดช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา แต่จากระดับมูลค่าที่ไม่แพง, ระดับราคา Valuation) ที่สะท้อนความผิดหวังไปมากแล้วและแนวโน้มดอลลาร์อ่อนค่าช่วยทำให้ความเสี่ยงขาลงมีจำกัด โดยหากมีมาตรการทางการคลังออกมาช่วยเหลือเพิ่มเติมที่มากพอคาดว่าจะช่วยหนุนการฟื้นตัวของตลาดหุ้นชัดเจนมากขึ้น

อินเดีย : มุมมองค่อนข้างเป็นบวก แนะนําทยอยสะสม
ตลาดหุ้นอินเดียยังปรับตัวขึ้นทำจุดสูงสุดใหม่เป็นประวัติการณ์อย่างต่อเนื่อง แต่ด้วยแนวโน้มกำไรยังอยู่ในเชิงบวก ท่ให้ระดับมูลค่า (Valuation) ไม่ได้ตึงตัวเหมือนช่วงต้นปี ขณะที่กระแสเงินทุนต่างชาติยังไหลเข้าอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เรายังมีมุมมองเชิงบวกต่อตลาดหุ้นอินเดีย แนะนำทยอยแบ่งไม้สะสมลงทุนเมื่อตลาดย่อตัว

เกาหลีใต้ : มุมมองค่อนข้างเป็นบวก แนะนําทยอยสะสม
ตลาดหุ้นเกาหลีใต้ปรับตัวขึ้นโดดเด่นในสัปดาห์ที่ผ่านมา ด้ชนี KOรPI ทะลุผ่านเส้นคำเฉลี่ย EMA 50 วัน โดย Dollar ที่กลับมาอ่อนค่าต่อเนื่องช่วยหนุน Sentiment บวกและกระแสงินลงทุนไหลเข้า เรามีมุมมองเชิงบวกโดยคาดว่าโมเมนตัมของราคาที่ดูดีขึ้นนำจะช่วยหนุนให้ด้ชนีปรับตัวขึ้นต่อได้ ดังนั้นแนะนำสะสมเก๊งกำไรระยะสั้น

เวียดนาม : มุมมองค่อนข้างเป็šนบวก แนะนําทยอยสะสม
ตลาดหุ้นเวียดนามยังปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมาจากค่าเงินดอลลาร์ที่อ่อนค่และโมเมนดัมของราคาที่ยังขณะที่ระดับมูลค่ายังต่ำว่าค่าเฉลี่มระยะยาวและต่ำกว่ากูมิกาค สิ่งที่น่าติดตามคือแนวโน้มทะเบียน หากริ่มกลับมาฟื้นตัวดีขึ้นต่อเนื่องจ:ะยิ่งช่วยหนุมมุมมองเชิงบวกของเรา แนะนำทยอยสะสมลงทุน

ตราสารหนี้
ในประเทศ : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
เงินเฟ้อทั่วไปของไทย เดือน มิ.ย. +0.23% VOY ชะลอตัวลง 6 เดือนติดต่อกัน ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน ออกมาต่ำกว่าเดือนก่อน (+1.32% vร +1.40% Vร +1.55%YoY สะท้อนแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่มีน้ำหนักน้อยลง ทำให้กนง.อาจปรับขึ้นดอกเบี้ยน้อยกว่าที่ประเมินไว้ก่อนหน้า ช่วยลดแรงกดดันต่อกลุ่มตราสารหนี้ไทย

ต่างประเทศ : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
ระดับ Bond Yield สหรัฐฯ ปรับตัวลงทั้งระยะสั้น 2 ปีและระยะยาว 10 ปีมาอยู่ที่ระดับ 4.77% และ 3.83% ตามลำดับ หลังจากเงินเฟ้อสหรัฐฯ ออกมาต่ำกว่าคาด เพิ่มโอกาสที่ดอกเบี้ยสหรัฐฯ จะใกล้ถึงจุดสูงสุดและช่วยลดแรงกดดันต่อราคาของกลุ่มตราสารหนี้ ในชิงกลยุทธ์ เรามองว่า ระดับดอกเบี้ยปัจจุบันน่าสนใจ สำหรับการลงทุนระยะกลาง-ยาว

สินทรัพย์ทางเลือก

ทองคำ : มุมมองค่อนข้างเป็นบวก แนะนําทยอยสะสม
ราคาทองคำฟื้นตัวกลับมายืนเหนือเส้นค่าเฉลี่ย EMA 50 วันอีกครั้ง หลังจากดัชนี Dollar Index อ่อนค่าลงหลุด 100 จุดเป็นแรงหนุนสำคัญต่อการฟื้นตัวของราคาทอง ทั้งนี้เรามีมุมมองเชิงบวกต่อทองคำมากขึ้นหากแนวโน้มดอลลาร์ยังมีทิศทางอ่อนค่าลงต่อ โดยเราแนะนำยอยสะสมเมื่อราคาย่อตัวลงมาเพื่อเป็นสินทรัพย์ในการกระจายความเสี่ยงพอร์ต

น้ำมัน : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
น้ำมันดิบ พT1 ปรับตัวขึ้นดดเด่นระว่าสัปดาห์ก่อนมีแรงขายทำกำไรในช่วงปลายสัปดาห์ที่ผ่าน Index อ่อนคำลงต่ำสุดในรอบ 1 ปี ช่วยหนุนการฟื้นตัวของราคาน้ำมัน เราคงมุมมองว่า ราคาน้ำมันจะแกว่งตัวในกรอบกว้างแต่มีความเสี่ยงขาลงจำกัด โดยอาจมีการปรับมุมมองดีขึ้นหากเห็นแนวโน้มเศรษฐกิจจีนฟื้นตัวชัดเจนกว่านี้

อสังหาฯและโครงสร้างพื้นฐาน : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
มุมมองเชิงบวกต่อกลุ่ม REIT สิงคโปร์และไทยมากขึ้นจากอัตราเงินเอสหรัฐฯ ที่ออกมาต่ำกว่ามุมมองแนวโน้มดอกเบี้ยงาขึ้นของ Fed. ใกล้จบรอบ สนับสนุนการฟื้นตัวของกลุ่ม REITร โดยเฉพาะในฝังสิงโปร์ อ่อนไหวสูงต่อแนวโน้มดอกเบี้ยสหรัฐฯ ส่วน REIT ไทย ความเสี่ยงขาลงเริ่มจำกัด เพราะราคาลงมาค่อนข้างมากแล้ว