SCBAM : นักลงทุนทั่วโลกจับจ้อง ไปที่การประชุม Fed สัปดาห์นี้

SCBAM MARKET INSIGHT
ประจำวันที่ 30 ต.ค.- 3 พ.ย.66
Highlight ประจำสัปดาห์

๐ ตลาดหุ้นทั่วโลกผันผวนตลอดทั้งสัปดาห์ ถูกกดดันจาก US Bond Yield ที่ปรับตัวขึ้น โดยเฉพาะ US Bond Yield อายุ 10 ปีที่เร่งตัวขึ้นแตะระดับ 5% ในช่วงต้นสัปดาห์ ขณะที่เงินเฟ้อพื้นฐาน Core PCE เดือน ก.ย. +0.3% MoM เร่งตัวขึ้นจากเดือนก่อนหน้า จับตามุมมองของ Fed จากการประชุมสัปดาห์นี้ ด้านผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนในสหรัฐฯ ไตรมาส 3/2566. โดยภาพรวมออกมาดีกว่าคาดการณ์ของตลาด แต่ยังไม่เพียงพอที่จะทำให้นักลงทุนมีความเชื่อมั่นและกลับเข้าลงทุน เนื่องจากความไม่แน่นอนของปัจจัยมหภาคที่กดดันบรรยากาศการลงทุนอยู่

๐ ประเด็นสำคัญสัปดาห์นี้ คือ การประชุมของ Fed ระหว่างวันที่ 31 ต.ค.- 1 พ.ย. ตลาดคาด Fed จะคงดอกเบี้ยที่ระดับ 5.25-5.50% เช่นเดิม แต่หาก Fed ส่งสัญญาณใช้นโยบายการเงินตึงตัวยาวนาน อาจส่งผลให้ Bond Yield และ US Dollar Index ปรับตัวขึ้นอีก กดดันการฟื้นตัวของตลาดหุ้นและกระแสเงินลงทุนอีกด้วย ขณะที่ราคาน้ำมันดิบเริ่มปรับตัวลง สะท้อนว่าตลาดคลายความกังวลระยะสั้นต่อสถานการณ์ในตะวันออกกลาง แต่หากความรุนแรงของการสู้ยกระดับขึ้นอีก ก็อาจทำให้ราคาน้ำมันดิบพุ่งขึ้นอีกรอบ

เรามองว่า เมื่อปัจจัยมหภาค เริ่มนิ่งและมีความชัดเจนมากขึ้น การรายงานผลประกอบการที่ออกมาดีกว่าคาด จะช่วยหนุนให้ตลาดหุ้นฟื้นตัวได้ แต่ในทางกลับกันถ้าออกมาต่ำกว่าคาด ก็จะฉุดตลาดให้ลงแรงได้เช่นกัน ไดยเฉพาะในช่วงนี้ที่นักลงทุนให้น้ำหนักกับปัจจัยลบมากกว่าบวก ติดตามการรายงานงบ่ของบริษัทขนาดใหญ่จากหลายกลุ่มอุตสาหกรรม เช่น Apple,Caterpillar, AMD, McDonald แล: Eli Lilly เป็นต้น

หุ้นกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว
สหรัฐอเมริกา : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
ดัชนี S&P 500 ปรับตัวลงกว่า 10% จากจุดสูงสุดแล้ว นักลงทุนให้น้ำหนักกับการรายงานงบที่เป็นลบมากกว่า แม้ว่าบริษัทส่วนใหญ่ราว 78% ของบริษัทที่ร้ายงานงบออกมาแล้ว (ราว 49% ของจำนวนบริษัทใน S&P 500 จะมีผลประกอบการดีกว่าคาดก็ตาม ประเด็นสำคัญสัปดาห์นี้ คือ การประชุม Fed ตลาดคาด Fed จะคงดอกเบี้ยที่ 5.25-5.50%

ยุโรป : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
ตลาดหุ้นยุโรปปรับตัวลดลงต่อเนื่องจากความกังวลต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ภายหลังดัชนีชี้นำเศรษฐกิจเบื้องต้น อย่าง PMI ของยูโรโซน ยังคงหดตัวและต่กว่าคาด ขณะที่ ECB มีมติคงดอกเบี้ยในรอบการประชุมล่าสุด แต่ลดความคาดหวังของตลาดเรื่องการลดดอกเบี้ย ระยะสั้นเรายังมีมุมมองเป็นกลางจากแนวโน้มเศรษฐกิจที่อาจฟื้นตัวช้ากว่าคาด

ญี่ปุ่น : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
ตลาดหุ้นญี่ปุ่นค่อนข้างผันผวนตาม Sentiment ทั่วโลก โดยในระยะสั้น ผลประกอบการไตรมาส 3/2566 รวมทั้ง การเร่งตัวขึ้นของ US Bond Yield ยังเป็นปัจจัยหลักกำหนดทิศทางตลาด ในสัปดาห์นี้รอติดตามผลการปะชุม BOง ซึ่งจะให้เห็นความชัดเจนมากขึ้นของนโยบายทางการเงินและมุมองต่อแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้ออีกด้วย

หุ้นกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่

ไทย : มุมมองค่อนข้างเป็นบวก แนะทยอยสะสม
SET Index ฝันผวนเชิงลบและปรับตัวลงหลุดแนว 1,400 จุด จากแรงกดดันทั้งภายนอกและภายในประเทศ เช่น สถานการณ์ในตะวันออกกลาง, Bond Yield สหรัฐฯ ปริบขึ้น, นักลงทุนรอดูความชัดเจนของนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวของหุ้น Big Cap ช่วงปลายสัปดาห์ อาจช่วยหนุนไม่เมนต้มการฟื้นตัวระยะสั้นของ SET Index

จีน : มุมมองค่อนข้างเป็นบวก แนะทยอยสะสม
ตลาดหุ้นจีนฟื้นตัวได้ดี โดยได้ปัจจัยหนุนจากการที่ภาครัฐตรียมออกพันชปัตรรัฐบาลผิเศษเพื่อกระตุ้นเศรษฐก็จ รวมถึงการข้าซื้อ ETF จากบริษัทเพื่อการลงกุนของกองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติ ตลาดหุ้นจีนมีโอกาสฝันผวนตามทิศทางตลาดหุ้นโลก แต่ระยะยาว หากมีฟัฒนาการเชิงบวกเรื่องมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ก็มีไอกาสฟื้นตัวโด้

อินเดีย : มุมมองค่อนข้างเป็นบวก แนะทยอยสะสม
ตลาดหุ้นอินเดียปรับตัวลดลง ท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์ในตะวันออกกลาง นอกจากนี้ ตลาดยังโดนแรงเกิดขายจากนักลงทุนต่างชาติอีกด้วย ระยะสันคาดดัชนี Nifty50 ของอินเดีย มีโอกาสฟื้นตัวทางเทคนิคจากแนวรับเส้นค่าเฉลี่ย EMA 200 วัน บวกกับแรงหนุนจากแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจและผลประกอบการที่ยังคงแข็งแกร่ง

เกาหลีใต้ : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
ตลาดหุ้นเกาหลีไต้ปรับตัวลดลงจาก จากการเร่งตัวขึ้นของ US Bond Yield กดดันตลาด ในขณะที่ GDP งวด 3Q66 ออกมางยายตัวดีกว่าคาด (+0.6% Vs est. +0.5% Q09) จากภาคส่งออกและการใช้จ่ายภาคเอกชนฟื้นตัว อย่างไรก็ตาม ตลาดหุ้นเกาหลีใต้ค่อนข้างอ่อนไหวตาม Sentiment ในตลาดโลก ดังนั้นแนะนำคงน้ำหนักการลงกุนไปก่อน

เวียดนาม : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
ดัชนี VN Index ปรับตัวลงแรงราว 4.3% เมื่อสัปดาห์ก่อน ลงไปแตะระดับต่ำสุดในรอบ 5 เดือน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะความผันผวนของตลาดหุ้นภูมิภาค และอีกส่วนหนึ่งถูกกคค้นจากการปรับตัวลงของหุ้นในเครื่อ Vingroup และมีแรงขายกระจายไปสู่หินตัวอื่น ๆ โดยเฉพาะกลุ่มอสังหาฯ แต่เมื่อวันศุกร์ ตลาดหุ้นเวัยดนามเคลื่อนไหงได้ด้ขึ้นและกลับมาปิดนวกเล็กน้อยเกาหลีได้

ตราสารหนี้
ในประเทศ : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรไทยยังคงอยู่ในระดับสูง สอดคล้องกับระดับอัตราผลตอมแทนพันธบัตรของสหรัฐฯ เราประเมินว่า อัตราผลตอบแทนพันบัตรระยะยาว จะมีความผันผวน และ Bond Yield มีโอกาสปรับเพิ่มขึ้นตามกลไกของตลาด ดังนั้น มุมมองเชิงกลยุทธ์ช่วงนี้ จึงเนันไปที่กองทุนตราสารหนี้ระยะสั้นเป็นหลัก แนะนำ SCBSFFPLUS

ต่างประเทศ : มุมมองค่อนข้างเป็นบวก แนะนำทยอยสะสม
US 10-year Bond Yield ปรับขั้นแตะ 5% ในช่วงต้นสัปดาห์ ขณะที่ดัชนี Core PCE ที่เร่งตัวขึ้นสนับสนุนแนวโน้มให้ Fed ปรับขึ้นดอกเบี้ยในการประชุมนี้มีมากขึ้น โดยเราคาดว่าในสัปดาห์นี้ตลาดพันธปัตรยังมีความฝันผวนสูง แต่เรามองว่าระดับ Bond Yield ที่ปรับขึ้นมาค่อนข้างสูง อยู่ในระดับที่น่สนใจเท้าทยอยสะสมเพื่อลงทุนระยะยาวได้

สินทรัพย์ทางเลือก
ทองคำ : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
ราคาทองคำปรับตัวขึ้นต่อเนื่อง จากสถานการณ์ในตะวันออกกลางที่มีแนวโน้มยืดเยื้อ ส่งผลให้ความต้องการสินทรัพย์ปลอดภัยเพิ่มสูงขึ้น รวมถึง ได้แรงหนุนจากคัชนี Dollar index ที่เริ่มชะลอการแข็งคำา แต่ด้วยราคาทองคำที่ปรับตัวขึ้นมารวดเร็วทะลุ US$2,000/0z ทำให้ราคาทองคำอาจมีความฝันผวนมากขึ้นในช่วงนี้

น้ำมัน : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
ราคาน้ำมันดิบปริบตัวลงเมื่อสัปดาห์ก่อน สะท้อนความกังวลคลายตัวระยะสั้นต่อภาวะสงครามอิสราเอล-อามาส ที่แม้ว่ายังมีความรุนแรงอยู่ แต่ยังไม่ได้ขยายวงกว้างออกไปมาก ประกอบกับ เศรษฐกิจยุโรปที่มีแนวโน้มอ่อนแรงลง อาจกดดันอุปสงค์น้ำมันในระยะถัดไป เราประเมินว่าราคาน้ำมันมีความผันผวนช่วงนี้ และอาจปรับตัวขึ้นอีกหากการสู้รบยกระดับขึ้น

อสังหาฯและโครงสร้างพื้นฐาน : มุมมองเป็นกลาง แนะนําคงนํ้าหนัก
สัปดาห์ที่ผ่านมา REIT ปรับตัวลงค่อนข้างแรง หลังจากประธาน Fed ส่งสัญญาณมีโอกาสปรับขึ้นดอกเบี้ยเพิ่มเติม และยังไม่มีแนวโน้มที่จะปรับลดดอกเบี้ยในเร็ว ๆ นี้ ส่งผลไห้ US Band Yeld ปรับตัวสูงขั้น กดดันราคาหุ้นกลุ่ม REITs ทั้งนี้เรามองว่า กลุ่ม REITs มีอกาสกลับมาฟื้นตัว แต่ความชัดเจนและต่อเนื่อง น่าจะเกิดขึ้นหลังจากที่ Fed เริ่มลดดอกเบี้ยแล้ว